เป็นเรื่องวุ่นวายอยู่ในแวดวงพลังงานหลังจาก ที่มีกลุ่ม คปพ. ออกมาคัดค้าน พรบ. ปิโตรเลียม และ พรบ. ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ซึ่งเนื้อหาสาระสำคัญคงไม่พ้นการเปลี่ยนระบบจากสัมปทานมาเป็นระบบจ้างผลิต และเปิดทางให้กับบรรษัทพลังงานแห่งชาติเข้ามามีบทบาทใหญ่ ซึ่งไม่รู้ว่าการพยายามหยุดสัมปทานในครั้งนี้ จะเกิดผลเสียอย่างไรในอนาคตบ้าง สาระสำคัญที่จะพูดถึงเรื่องการหยุดสัมปทานในครั้งนี้คงหนีไม่พ้น “บรรษัทพลังงานแห่งชาติ” ซึ่งเป็นความพยายามของกลุ่มคนที่อ้างตัวว่าเป็นภาคประชาชน เพื่อเข้ามามีตำแหน่งและบทบาทในการตัดสินใจเรื่องปิโตรเลียมทั้งหมดในประเทศ และหากจะถามว่าบรรษัทพลังงานแห่งชาติมีผลดีผลเสียอย่างไร ขอหยิบยกตัวอย่างกระทู้หนึ่งใน pantip ซึ่งเป็นการพูดถึงเรื่องราวของการหยุดสัมปทานบรรษัทพลังงานแห่งชาติ ได้น่าสนใจ โดยมีสาระสำคัญดังนี้ หยุดสัมปทาน | บรรษัทพลังงานแห่งชาติ มันจำเป็นสำหรับประเทศเรามากไหมครับ? “จะว่าไปแล้ววงการพลังงานนี่ก็มีเรื่องสนุกๆ ให้เราได้ติดตามกันอยู่เรื่อยๆ เหมือนกันนะ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการทวงคืนน้ำมัน ทวงคืน ปตท. ทวงคืนท่อก๊าซ ทวงกันจนเป็นมหากาพย์ยาวเรื่องยาว ลามมายันเรื่องระบบสำรวจและผลิต จนกระทั่งล่าสุดก็ได้มีการเสนอให้จัดตั้งบรรษัทพลังงานแห่งชาติขึ้น อ่าวๆ แล้วเจ้าบรรษัทพลังงานแห่งชาตินี้มันคืออะไร และมีไว้ทำไม จากตามข้อเสนอของกลุ่มคนที่บอกว่ามาจากภาคประชาชนเค้าเสนอให้มีการจัดตั้งบรรษัทน้ำมันแห่งชาติ (National Oil Company) โดยกำหนดคาแรกเตอร์ ให้มีฐานะเป็นตัวแทนของรัฐ ดำเนินการเกี่ยวกับการให้สิทธิ การสำรวจและผลิตปิโตรเลียมอย่างเบ็ดเสร็จและครบวงจร คณะกรรมาธิการได้เสนอให้มีการตรากฎหมายในระดับพระราชบัญญัติ ให้บรรษัทน้ำมันแห่งชาติเป็นผู้มีสิทธิเพียงรายเดียวในการสำรวจและให้สิทธิเกี่ยวกับปิโตรเลียม ในการดำเนินการบริหารจัดการปิโตรเลียมและการบังคับบริษัทเอกชนในฐานะคู่สัญญา นอกจากนั้นยังกำหนดให้บรรษัทน้ำมันแห่งชาติมีสภาพนิติบุคคลและมีฐานะเป็นหน่วยงานของรัฐ แต่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ […]
ความมั่นคงทางพลังงาน ตีความหมายง่ายๆ คือการที่ประชาชนมีทรัพยากรปิโตรเลียมใช้อย่างไม่ขาดแคลน ในราคาที่เป็นธรรม และมีแผนคอยรับมือสถานการณ์ทางพลังงานที่จะเกิดขึ้น ซึ่งประชาชนบางกลุ่มอาจมีทัศนคติที่แตกต่าง หรือยังไม่เข้าใจเรื่องความมั่นคงทางพลังงาน จึงเกิดคำถามมากมาย โดยเฉพาะว่าความมั่นคงทางพลังงานนั้น เพื่อใคร? Share This:
เรื่องหยุดสัมปทานปิโตรเลียมนี่เห็นกลุ่มต่อต้านหยิบมาบอกโน่นนิดนี่หน่อยแล้วก็รู้สึกว่าคนพวกนี้เก่งในการหาข้อมูลนะ แต่ที่เก่งกว่าคือการบอกความจริงไม่หมดนี่สิ ก็ไม่รู้ว่าที่มาเรียกร้องให้หยุดสัมปทานปิโตรเลียมกันแล้วเรียกร้องอยากใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตแบบมาเลเซียนั้นกลุ่มต่อต้าน Share This:
เรื่องยกเลิกสัมปทานปิโตรเลียมนี่เห็นกลุ่มต่อต้านหยิบมาบอกโน่นนิดนี่หน่อยแล้วก็รู้สึกว่าคนพวกนี้เก่งในการหาข้อมูลนะ แต่ที่เก่งกว่าคือการบอกความจริงไม่หมดนี่สิ ก็ไม่รู้ว่าที่มาเรียกร้องให้ยกเลิกสัมปทานปิโตรเลียมกันแล้วเรียกร้องอยากใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตแบบมาเลเซียนั้นกลุ่มต่อต้านได้ศึกษามาดีแค่ไหนว่าถ้ายกเลิกสัมปทานปิโตรเลียมแล้วเปลี่ยนไปใช้ระบบแบ่งปันผลผลิตมันจะทำให้ราคาก๊าซราคาน้ำมันถูกลงจริงหรือ Share This:
จับเรื่องเก่ามาเล่าใหม่ ทำไมต้องขึ้นราคา LPG หลังจากที่รัฐบาลประกาศปรับขึ้นราคา LPG ภาคครัวเรือน 50 สตางค์ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2556 แต่ “บริษัท ปิโตรเคมีในเครือ ปตท. ซื้อ LPG ได้ในราคาที่ถูกกว่าชาวบ้าน” นายไพรินทร์ชี้แจงว่า ก่อนที่จะพูดว่า ปตท. ขายให้ใครถูกหรือแพงต้องเข้าใจก่อน โครงสร้างราคาซื้อ-ขายก๊าซ LPG หลักๆ มี 3 ราคา ดังนี้ 1. ราคาขายหน้าโรงแยกก๊าซธรรมชาติของ ปตท. ในช่วงกรกฎาคม-มิถุนายน 2556 ปตท. ขาย LPG เพื่อนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงกิโลกรัมละ 10.20 บาท, ขายให้ภาคปิโตรเคมีใช้เป็นวัตถุดิบกิโลกรัมละ 17.30 บาท 2. ราคาขายปลีกที่ผู้บริโภคจ่ายเงินซื้อ กรณีภาคครัวเรือนซื้อที่ราคา 18.10 บาท/กิโลกรัม ภาคขนส่งซื้อที่ราคา 21.40 บาท/กิโลกรัม 3. ภาคปิโตรเคมีซื้อ LPG […]