Articles Posted in the " ศาลปกครอง คดีคืนท่อก๊าซ " Category

  • ศาลปกครอง คดีคืนท่อก๊าซ ไม่รับฟ้อง เหตุเพราะเป็นคดี ซ้ำซาก

    ศาลปกครอง คดีคืนท่อก๊าซ ไม่รับฟ้อง เหตุเพราะเป็นคดี ซ้ำซาก

    ศาลปกครองสูงสุดไม่รับฟ้องคดีแบ่งแยกท่อก๊าซ ปตท. กลับเป็นของรัฐ เพราะ คดีไร้สาระ ซ้ำซาก “ศาลปกครองสูงสุด”ไม่รับฟ้องคดีแบ่งแยกท่อก๊าซ ปตท. กลับเป็นของรัฐ เหตุฟ้องซ้ำ   “ศาลปกครองสูงสุด”ไม่รับฟ้องคดีแบ่งแยกท่อก๊าซ ปตท. กลับเป็นของรัฐ เหตุฟ้องซ้ำ เมื่อวันที่ 16 ก.พ. 2558  “ศาลปกครองสูงสุด” มีคำสั่งยืนตามคำสั่งศาลปกครองชั้นต้น ไม่รับคำฟ้องไว้พิจารณาและให้จำหน่ายคดีออกจากสารบบความ ในคดีการแบ่งแยกระบบท่อก๊าซธรรมชาติของ บมจ. ปตท ให้กลับมาเป็นของรัฐ ตามคำร้องที่ 1034/2555 คำสั่ง 800/2557 ซึ่งมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค ที่ 1 กับพวกรวม 1,455 คน (ผู้ฟ้องคดี) ยื่นฟ้อง คณะรัฐมนตรี ที่ 1, นายกรัฐมนตรี ที่ 2, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ที่ 3, บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ที่ 4, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ที่ 5  (ผู้ถูกฟ้องคดี) […]


  • ข้อเท็จจริง:ท่อก๊าซ ปตท.ขอชี้แจงความจริงอีกครั้ง

    ข้อเท็จจริง:ท่อก๊าซ ปตท.ขอชี้แจงความจริงอีกครั้ง

    ท่อก๊าซ / ศาลปกครอง คดีคืนท่อก๊าซ – สตง. ทวงคืนท่อก๊าซ ปตท. – แปรรูปท่อก๊าซ จากของรัฐให้เป็นของเอกชน – นโยบายแปรรูปท่อก๊าซกลายเป็นของเอกชนฟรีๆ ไม่ต้องเสียภาษี – ท่อก๊าซ เป็นสาธารณสมบัติ การยักยอกท่อก๊าซ คือ การปล้นอธิปไตยทางเศรษฐศาสตร์ – สตง. สั่ง ปตท. คืนท่อก๊าซ แล้วลุงตู่เลิกอุ้ม ปตท. ปล้นชาติซะที – ผู้ตรวจการจี้ รัฐไม่แยกท่อก๊าซก่อนแปรรูปขัดมติ ครม. แนะนายกฯ สั่งทบทวนแบ่งทรัพย์สิน – แยกท่อก๊าซขาย … อนุมัติไปแล้ว การทบทวนก็แค่ให้ไปตรวจ – ข้าราชการ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบทวงคืนท่อก๊าซ จาก ปตท. เป็นกรรมการได้รับเงินและโบนัสจากกำไรของกลุ่มบริษัท ปตท. – 12 ปี ปตท. จ่ายค่าเช่าท่อก๊าซให้รัฐ 5,000 ล้านบาท ฟันรายได้จากการเก็บค่าผ่านท่อ 300,000 […]


  • บทสรุปศาลปกครอง คดีคืนท่อก๊าซ ปตท. ทำไม?? คนไทยต้องทวงคืน

    บทสรุปศาลปกครอง คดีคืนท่อก๊าซ ปตท. ทำไม?? คนไทยต้องทวงคืน

    สุดท้ายแล้วหากใครยังสงสัยว่าบทสรุปแล้วข้อมูลที่ให้มานั้นเป็นข้อมูลที่ถูกต้องและ ปตท. คืนท่อก๊าซครบจริงหรือไม่นั้น ขออนุญาต หยิบยกคำสั่งศาลมาให้อ่านพิจารณากัน “คำสั่งของศาลปกครองสูงสุดที่ 800/2557 ท่ามกลางกระแสถาโถมจากหน่วยงานต่างๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 ศาลชั้นต้นก็ได้ออกนั่งบัลลังก์เพื่ออ่านคำสั่งของศาลปกครองสูงสุดที่ 800/2557 ที่มาจากการอุทธรณ์ของมูลนิธิเพื่อผู้บริโภคกับพวกรวม 1,455 คน ตั้งแต่วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ศาลปกครองสูงสุดมีคำสั่งยืนยันตามคำสั่งของศาลปกครองกลาง คือ ไม่รับคำฟ้องอุทธรณ์ไว้พิจารณา และให้จำหน่ายคดีนี้ออกจากสารบบความ เนื่องจาก ปตท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดำเนินการตามคำพิพากษาในคดีแปรรูป ปตท. เป็นที่เรียบร้อยแล้ว 2. การที่มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคกับพวกรวม 1,455 คน ขอให้ศาลมีคำสั่งให้ ปตท. ส่งคืนท่อส่งก๊าซธรรมชาติทั้งในทะเลและบนบก จึงเป็นการขอให้ศาลมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดในประเด็นที่ศาลปกครองสูงสุดได้วินิจฉัยชี้ขาดไปแล้ว จึงเป็นกรณีที่ต้องห้าม 3. สำหรับประเด็นข้อกล่าวอ้างที่ว่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติให้เป็นไปตามคำพิพากษาไม่ได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2550 กำหนด (เรื่องที่ให้ สตง. รับรอง) ไม่ใช่เหตุที่จะกล่าวอ้างว่าการดำเนินการตามคำพิพากษายังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ตามกฎหมาย สรุป ดังนั้น จะเห็นได้ว่าจากคำสั่งของศาลปกครองสูงสุด […]


  • ข้อเท็จจริง: ทวงคืน ท่อก๊าซ l ปตท. คืนท่อก๊าซไม่ครบ (ตอน1)

    ข้อเท็จจริง: ทวงคืน ท่อก๊าซ l ปตท. คืนท่อก๊าซไม่ครบ (ตอน1)

    ทวงคืน ท่อก๊าซ / ปตท. คืนท่อก๊าซไม่ครบ  อันที่จริงประเด็นเรื่อง ปตท. คืนท่อก๊าซให้รัฐครบหรือไม่นั้น เป็นประเด็นเดิมที่พูดถึงกันอยู่เนืองๆ แต่ช่วงหลังโดยเฉพาะหลังจาก คสช. ได้ยึดอำนาจ ประเด็นเรื่องการทวงคืน ท่อก๊าซ ดูเหมือนจะถูกหยิบยกมาเล่น ไม่ต่างจากเกมการเมืองอย่างไม่รู้จบ นั่นอาจเพราะคาดหวังให้ คสช. ใช้อำนาจโดยตรงโดยไม่ต้องผ่านศาล ซึ่งท้ายที่สุดแล้วศาลก็ตัดสินว่า ปตท. คืนท่อก๊าซ ครบแล้วและจำหน่ายคดีท่อก๊าซออกจากสารบบไปแล้วตั้งแต่วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558 แต่กระนั้นเหมือนว่า “คำตัดสินศาล” จะไม่อาจหยุดความต้องการในการทวงท่อก๊าซ จากกลุ่มคนบางกลุ่มได้ กลายเป็นการดีเบตวาทะของกลุ่มคน 2 ฝ่าย ฝ่ายหนึ่งบอกว่าคืนไม่ครบต้องคืนทุกท่อก๊าซปตท. อีกฝ่ายเชื่อถือคำสั่งศาล ซึ่งอันที่จริงเรื่องนี้ไม่ได้มีความซับซ้อนเกินกว่าจะเข้าใจ เพียงแต่ด้วยการให้ข้อมูลแบบขาดๆ หายๆ หรือข้อมูลไม่ครบ ส่งผลให้ผู้ที่คอยติดตามเกิดความสับสนและเข้าใจเรื่องราวผิดไปจากข้อเท็จจริง “จุดเริ่มต้น ภายหลังจากที่ได้มีการแปรสภาพการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย ไปเป็นบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2544 เพื่อเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อมา วันที่ 31 สิงหาคม […]